สุขลักษณะความพึงพอใจของผู้ใช้บริการห้องส้วมและการปนเปื้อนแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มในห้องส้วมสาธารณะที่ตั้งภายในซุปเปอร์มาเก็ต

สุขลักษณะความพึงพอใจของผู้ใช้บริการห้องส้วมและการปนเปื้อนแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มในห้องส้วมสาธารณะที่ตั้งภายในซุปเปอร์มาเก็ต

ผศ.ดร.กิจจา จิตรภิรมย์


View Fullscreen

ความชุกของแบคทีเรียนกลุ่มโคลิฟอร์มที่สามารถสร้างเอนไซม์ขยายการดื้อยาในกลุ่มบีตาขแลคแทม (ESBLs) จากห้องสุขาสาธารณะ

ความชุกของแบคทีเรียนกลุ่มโคลิฟอร์มที่สามารถสร้างเอนไซม์ขยายการดื้อยาในกลุ่มบีตาขแลคแทม (ESBLs) จากห้องสุขาสาธารณะ

ผศ.ดร.กิจจา จิตรภิรมย์


View Fullscreen

การฟื้นฟูตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์จากกระบวนการย่อยสลาย PMMA ด้วยแก๊สโอโซน

การฟื้นฟูตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์จากกระบวนการย่อยสลาย PMMA ด้วยแก๊สโอโซน

.สุภาภรณ์ คางคำ


View Fullscreen

Regeneration of Coked Zeolite from PMMA Cracking Process by Ozonation

Regeneration of Coked Zeolite from PMMA Cracking Process by Ozonation

.สุภาภรณ์ คางคำ


Contents lists available at SciVerse ScienceDirect

Applied Catalysis B: Environmental

jo ur nal home p ag e: www.elsevier.com/locate/apcatb

Regeneration of coked zeolite from PMMA cracking process by ozonation

Supaporn Khangkhama,c, Carine Julcour-Lebiguea,b,, Somsak Damronglerdc,
Chawalit Ngamcharussrivichaic, Marie-Hélène Maneroa, Henri Delmasa

a Université de Toulouse, Laboratoire de Génie Chimique, 4 allée Emile Monso – BP 84234, 31030 Toulouse Cedex 4, France
b CNRS, Laboratoire de Génie Chimique, 31030 Toulouse, France
c Department of Chemical Technology, Faculty of Science, Chulalongkorn University, Bangkok 10330, Thailand


A R T I C L E   I N F O


Article history:
Received 17 January 2013
Received in revised form 15 April 2013
Accepted 17 April 2013
Available online 24 April 2013


Keywords:
Coke
Ozone
ZSM-5
Acid sites P
lastic wastes

A B S T A C T


Regeneration of coked ZSM-5 zeolite was performed by oxidation with ozone at low temperature range (<150 C) so that to restore catalytic activity. Physicochemical properties of the samples were characterized by several techniques: thermogravimetry (nature of coke deposit), elemental analysis (carbon content), porosimetry (surface area and pore size), ammonia temperature-programmed desorption and pyridine adsorption followed by infrared spectroscopy (acidity). Reactions were carried out at various temperatures, gas hourly space velocities and inlet concentrations of ozone. They showed that partially coked samples (containing 3 wt.% of C) can be successfully regenerated by ozone with carbon removal up to 80%.

   Carbon removal is improved by increasing the inlet ozone concentration in the range 16–50 g/m3, with almost linear trend, and by increasing time on stream until it plateaus after 2 h. Coke oxidation with O3 starts at low temperature and exhibits an optimum at about 100 C. At higher temperatures, the rate of ozone decomposition becomes much faster than its pore diffusion rate, so that radical species are no longer available for the coke deposit within the particles and the overall oxidation yield decreases. Indeed, catalytic decomposition of ozone is found to occur significantly above 100 C: O3 decomposition reaches 90% with fresh ZSM-5 catalyst. Thus regeneration of coked zeolite particles involves both complex chemical reactions (coke oxidation and O3 decomposition to active but unstable species) and transport processes (pore diffusion to the internal coked surface).
Ozonation can restore both textural and acidic properties, allowing the catalyst to almost recover its initial activity in poly(methyl metacrylate) cracking. The activity results are well correlated with the carbon removal efficiency.

© 2013 Elsevier B.V. All rights reserved.

1. Introduction

       Zeolites are used in many industrial and petrochemical processes because of their unique properties of molecular sieving, acidity, high thermal stability, and shape selectivity [1]. For example, FAU-type zeolite, e.g. Y and Ultrastable Y zeolite, is extensively applied as catalyst in fluid catalytic cracking (FCC). In this process, MFI-type zeolite, e.g. ZSM-5, is frequently used as FCC catalyst additive either in the form of separate particles or within a composite to control product yield and/or to improve octane number [2]. Moreover, zeolites, and ZSM-5 in particular, are also applied
__________

∗ Corresponding author at: Université de Toulouse, Laboratoire de Génie Chimique, 4 allée Emile Monso – BP 84234, 31030 Toulouse Cedex 4, France. Tel.: +33 534323709; fax: +33 534323697. E-mail address: [email protected] (C. Julcour-Lebigue).

0926-3373/$ – see front matter © 2013 Elsevier B.V. All rights reserved. http://dx.doi.org/10.1016/j.apcatb.2013.04.041

in recycling of plastic wastes to provide more valuable products: monomer and/or gas and liquid which can be reutilized as chemical reagents or fuels [3,4]. Previous results showed that MMA recovery by cracking of PMMA was successfully achieved on a zeolite fixed bed at temperatures below 300 C [5]. Such temperature is of significant advantage as compared to conventional thermal processes (400–450 C), as proposed by Kaminsky et al. [6–8] using fluidized bed reactors or more recently by Lopez et al. [9] using a spouted bed reactor.

Even if zeolite catalysts produce less coke than other materials, it is still a common feature which requires efficient and low-cost regeneration techniques for the process economy. Deposition of carbonaceous residues blocks the access of pores to the reacting molecules and/or poisons active acid catalytic sites [10–15]. Besides the loss of activity and/or selectivity, coking can also reduce heat transfer in the reactor, while increasing pressure drop and possibly even plugging the reactor.

โครงการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0

โครงการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 เก็บข้อมูลในวันที่ 6 – 9 กุมภาพันธ์ 2560 จำนวน 1,305 กลุ่มตัวอย่าง


“บ้านสมเด็จโพลล์” เผย! ชาวกรุงไม่เข้าใจนโยบายไทยแลนด์ 4.0

       คน กทม เกินครึ่งไม่เข้าใจนโยบายไทยแลนด์ 4.0และคิดว่าในอนาคต แรงงานคน จะได้รับผลกระทบจากปัญญาประดิษฐ์แทนคน ร้อยละ 47.1

วันที่ 18 ก.พ.60 ศูนย์สำรวจความคิดเห็นบ้านสมเด็จโพลล์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ได้ดำเนินโครงการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 โดยเก็บจากกลุ่มตัวอย่างจากประชาชนที่ อาศัยอยู่ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 1,305 กลุ่มตัวอย่าง เก็บข้อมูลในวันที่ 6 – 9 กุมภาพันธ์ 2560 ซึ่งกลุ่มตัวอย่างในการสำรวจครั้งนี้ใช้เกณฑ์ตารางสำเร็จรูปของ Taro Yamane กำหนดว่าประชากรเกิน 100,000 คนต้องการความเชื่อมั่น 95% และความผิดพลาดไม่เกิน 3% ต้องใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,111 กลุ่มตัวอย่าง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิงห์ สิงห์ขจร ประธานคณะกรรมการศูนย์สำรวจความคิดเห็นบ้านสมเด็จโพลล์ กล่าวว่า ผลการสำรวจในครั้งนี้ต่อนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย บนวิสัยทัศน์ที่ ว่า “มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” ในการขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ ไทยแลนด์ 4.0  ถือเป็นการพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนประเทศที่มีอยู่ 2 ด้าน คือ ความหลากหลายเชิงชีวภาพ และ ความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม เน้น ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา 5 กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย ประกอบด้วย

       1. กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ (Food, Agriculture & Bio-Tech)

       2. กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Health, Wellness & Bio-Med)

       3. กลุ่มเครื่องมือ อุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบเครื่องกลที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม (Smart Devices, Robotics & Mechatronics) 

       4. กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่เชื่อมต่อและบังคับอุปกรณ์ต่างๆ ปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว (Digital, IOT, Artificial intelligence & Embedded Technology)

       5. กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการที่มีมูลค่าสูง (Creative, Culture & High Value Services) ผลการสำรวจในครั้งนี้ต่อนโยบายไทยแลนด์ 4.0 มีข้อมูลที่น่าสนใจดังต่อไปนี้

 

โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ไม่เข้าใจนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ร้อยละ 53.0 อันดับที่สองคือ เข้าใจ ร้อยละ 27.7 และ อันดับที่สามคือ ไม่แน่ใจ ร้อยละ 19.3 และไม่ทราบว่ามี 5 กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมายของนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ร้อยละ 47.2 อันดับที่สองคือ ทราบ ร้อยละ 31.1 และ อันดับที่สามคือ ไม่แน่ใจ ร้อยละ 21.7

กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ คิดว่าการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมของนโยบายไทยแลนด์ 4.0 จะทำให้เศรษฐกิจของประเทศไทยดีขึ้น อันดับที่ 1 คือ ใช่ ร้อยละ 37.5 อันดับที่สองคือ ไม่ใช่ ร้อยละ 31.8 และ อันดับที่สามคือ ไม่แน่ใจ ร้อยละ 30.7

กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ คิดว่ามีความเป็นไปได้กับการใช้เทคโนโลยีอัตโนมัติหรือปัญญาประดิษฐ์สามารถทำงานแทนการจ้างแรงงานคน ร้อยละ 44.9 อันดับที่สองคือ มีความเป็นไปไม่ได้ ร้อยละ 31.9และ อันดับที่สามคือ ไม่แน่ใจ ร้อยละ 23.2 และคิดว่าในอนาคต แรงงานคน จะได้รับผลกระทบกับบริษัทหรือโรงงานที่ใช้เทคโนโลยีอัตโนมัติหรือปัญญาประดิษฐ์แทนคน ร้อยละ 47.1 อันดับที่สองคือ ไม่ได้รับผลกระทบ ร้อยละ 38.4 และ อันดับที่สามคือ ไม่แน่ใจ ร้อยละ 14.5

กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ต้องการเห็นการเห็นตำแหน่งงานที่ใช้เทคโนโลยีอัตโนมัติหรือปัญญาประดิษฐ์  อันดับที่ 1 คือ พนักงานขาย ร้อยละ 25.6 อันดับที่สองคือ พนักงานต้อนรับ ร้อยละ 25.4 อันดับที่สามคือ คนขับรถ ร้อยละ 18.4 อันดับที่สี่ คือ Call Center ร้อยละ 15.5 อันดับที่ห้า คือ ตำรวจจราจร ร้อยละ 8.4 และอันดับที่สุดท้าย คือ เจ้าหน้าที่บัญชี ร้อยละ 6.7

 

โดยได้รับการเผยแพร่จากสื่อมวลชนดังต่อไปนี้

สถานีโทรทัศน์VOICETV http://news.voicetv.co.th/business/462948.html

สถานีโทรทัศน์SPRINGNEWS http://www.springnews.co.th/th/2017/02/25482/

หนังสือพิมพ์แนวหน้า http://www.naewna.com/local/257049

หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ http://www.thansettakij.com/content/131096

สำนักข่าวอิศรา https://www.isranews.org/isra-news/item/54122-springnews-54122.html

หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 13 มีนาคม 2560

โครงการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับวันมาฆบูชาและวันวาเลนไทน์

โครงการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับวันมาฆบูชาและวันวาเลนไทน์ เก็บข้อมูลในวันที่ 6 – 9 กุมภาพันธ์ 2560 จำนวน 1,305 กลุ่มตัวอย่าง


คนกทม.เกินครึ่งให้ความสำคัญกับวันมาฆบูชามากกว่าวันวาเลนไทน์ ไม่ทราบว่าวันมาฆบูชา ให้เป็น “วันกตัญญูแห่งชาติ”ร้อยละ 48.5 และคิดว่า สังคมไทยรับได้กับเรื่องของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการแต่งงาน ร้อยละ 51.7

10 ก.พ.60 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิงห์ สิงห์ขจร ประธานคณะกรรมการศูนย์สำรวจความคิดเห็นบ้านสมเด็จโพลล์ เผยผลสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับวันมาฆบูชาและวันวาเลนไทน์ โดยเก็บจากกลุ่มตัวอย่างจากประชาชนที่ อาศัยอยู่ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 1,305 กลุ่มตัวอย่าง เก็บข้อมูลในวันที่ 6 – 9 กุมภาพันธ์ 2560

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิงห์ ระบุว่า ในปี พ.ศ.2549 รัฐบาลไทยได้ประกาศให้วันมาฆบูชาเป็นวันกตัญญูแห่งชาติ เพื่อส่งเสริมค่านิยมที่เหมาะสมแก่วัยรุ่นไทย เนื่องจากวันมาฆบูชา ตามปฏิทินจันทรคติในวันเพ็ญเดือนสามจะใกล้กับวันวาเลนไทน์ของทุกๆ ปี ซึ่งวัยรุ่นไทยบางกลุ่มมีค่านิยมวันแห่งความรักในวันวาเลนไทน์ในแบบผิด ๆ ส่ง ผลกระทบต่อค่านิยมทางจริยธรรมและศีลธรรมของวัยรุ่นไทย จากการสำรวจของศูนย์สำรวจความคิดเห็นบ้านสมเด็จโพลล์ในปี 2554 ประชาชนในกรุงเทพมหานครไม่ทราบว่า วันมาฆบูชาเป็นวันกตัญญูแห่งชาติ สูงถึงร้อยละ 55.4 ในปี 2560 จะมีความเปลี่ยนแปลงในการรับรู้เรื่องวันมาฆบูชาเป็นวันกตัญญูแห่งชาติหรือไม่ และในส่วนของค่านิยมในแบบผิด ๆของวันวาเลนไทน์อย่างประเด็นเรื่องของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการแต่งงานก็เป็นประเด็นที่น่าสนใจกับความคิดเห็นของประชาชน ซึ่งผลการสำรวจในครั้งนี้วันมาฆบูชาและวันวาเลนไทน์ มีข้อมูลที่น่าสนใจดังต่อไปนี้

กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับวันมาฆบูชามากกว่ากัน ร้อยละ 55.1 รองลงมาคือให้ความสำคัญกับวันวาเลนไทน์มากกว่า ร้อยละ 25.7 และให้ความสำคัญกับทั้งวันมาฆบูชาและวันวาเลนไทน์เท่าๆกัน ร้อยละ 19.2

กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่คิดว่าจะไปเข้าวัดในวันมาฆบูชา ร้อยละ 46.2 รองลงมาคือไม่ไป ร้อยละ 31.6 และยังไม่ตัดสินใจ ร้อยละ 22.2

และไม่คิดว่าเรื่องของวัดธรรมกาย ทำให้คนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับศาสนาพุทธน้อยลง ร้อยละ 50.7 รองลงมาคือใช่ ร้อยละ 34.8 และไม่แน่ใจ ร้อยละ 14.5

กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 48.5 ไม่ทราบว่ารัฐบาลไทยได้ประกาศให้วันมาฆบูชา ให้เป็น “วันกตัญญูแห่งชาติ” รองลงมาคือทราบ ร้อยละ 37.9 และไม่แน่ใจ ร้อยละ 13.6

กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่คิดว่าวันวาเลนไทน์เป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลในสังคมไทย ร้อยละ 45.1 รองลงมาคือ ใช่ ร้อยละ 31.5 และ ไม่แน่ใจ ร้อยละ 23.4

และคิดว่าสังคมไทยในปัจจุบันสามารถรับได้กับเรื่องของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการแต่งงาน ร้อยละ 51.7 รองลงมาคือ รับไม่ได้ ร้อยละ 36.9 และ ไม่แน่ใจ ร้อยละ 11.4

 

โดยได้รับการเผยแพร่จากสื่อมวลชนดังต่อไปนี้

สถานีโทรทัศน์VOICETV http://news.voicetv.co.th/thailand/460869.html

หนังสือพิมพ์แนวหน้า http://www.naewna.com/local/256071

หนังสือพิมพ์ผู้จัดการออนไลน์ http://www.manager.co.th/UpToDate/ViewNews.aspx?NewsID=9600000014641

หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 13 กุมภาพันธ์  2560

Effect of AG2O Doping on some Physical Properties Y145 Superconductor

Effect of AG2O Doping on some Physical Properties Y145 Superconductor

รัตนสุดา สุภคนัยสร


Theerathawan Panklang 1, a *, Rattanasuda Supadanaison 1, b, Chalit Wanichayanan 1, c, Adullawich Kaewkao 2, d, Tunyanop Nilkamjon2, e,
Pongkaew Udomsamuthirun2, f, Somporn Tiyasri3, g, Wirat Wongphakdee3, h, Thitipong Kruaehong4, i, Piyamas Chainok5, j

1Bansomdejchaopraya Rajabhat University, 1061 Soi Itsaraphap 15, Hiranruchi, Thon Buri, Bangkok 10600, Thailand
2Prasarnmit Physics Research Unit, Department of Physics, Faculty of Science, Srinakharinwirot University, Bangkok 10110, Thailand
3Department of Chemistry, Faculty of Science, Srinakharinwirot University, Bangkok 10110, Thailand
4Department of Physics, Faculty of Science and Technology, Suratthani Rajabhat University, Surat Thani 84100, Thailand
5Department of General Education, Faculty of Science and Technology, Pathumwan Institute of Technology, Bangkok 10330, Thailand
a[email protected], b[email protected], c[email protected], d[email protected], e[email protected], f[email protected] g[email protected], h[email protected], i[email protected], j[email protected]

 

Keywords : Y145 Superconductor, Solid state reaction, Silver-doped.

Abstract. In this paper, the Y145 superconductor doped Ag2O were synthesized by solid state reaction. The calcinations and sintering temperature were at 920 0C and annealing temperature was at 550 0C. The highest critical temperature was in Y145+0.1Ag sample with Tc onset at 96 K and the lowest was found in pure Y145 at 95 K. We found that the surface of Y145 superconductor was improved by Ag adding on the porous structure.

 

Introduction

The Y123 (YBa2Cu3O7-x) is the first superconductor having critical temperature higher than the boiling point of liquid nitrogen that was synthesized by Chu and coworkers [1] in 1987. After this discovery, the YBaCuO superconductor has spurred a lot of interest by scientist all around the world because of the low cost of using that make it easier for applied in various areas. There are two importance properties of superconductor in superconductivity state i.e. zero resistance and magnetic levitation that can be used for the supermagnet and high speed train etc.”
The critical temperature (Tc) of this high temperature superconductor sensitively depends on both the holes concentration in the CuO2 planes and the relative concentration of the oxygen within the planes [2]. After that the various elements are added in YBaCuO system for the proposal to increasing the critical temperature (Tc) and critical current density (Jc) that can be applied in [3-5]. To improve the electrical properties of superconductor, Ag is one of the candidates because it can be filled in the intergranular space that can enhance the critical current density without changing the critical temperature [6, 7].

       Shao et al. [8] prepared the Y123 superconductor by using Y2O3, BaCO3, CuO as starting materials. The Ag, Ag2O, AgNO3 were added into Y123 power to investigate the effect of Ag on Y123 superconductor. They found that the Ag-doping does not cause any district microstructure change of Y123 superconductor that Ag located at the pores contributes to strengthening and improving the critical current density of material. Rani, Jha and Awana [9] prepared Y123 and reported the effect of Ag addition on superconducting performance of Y123 superconductor. The powder of Y2O3, BaCO3, CuO and Ag2O was used as the starting materials. The calcination at 870°C, 890°C, and 910°C with sintering temperature at 920°C were done. They found that the grain size is increase with Ag doping until the maximum value then decrease. Recently, the new formula of YBaCuO superconductor were synthesized as Y5-6-11, Y7-9-16,Y358, Y5-8-13, Y7-11-18, Y156, Y3-8-11, and Y13-20-23, where the numbers indicate Y, Ba, and Cu atoms respectively [10, 11]. After this, Chainok et.al [12] studied the YBaCuO superconductors having one Yttium atom that Y123 (YBa2Cu3O7-y), Y134 (YBa3Cu4O9-y), Y145 (YBa4Cu5O11-y) and Y156 (YBa5Cu6O13-y). The sintering temperature at 950oC and 980oC were used for synthesized their samples. The critical temperature in range 88-94°C was found. Chainok et.al [13] synthesized and characterized the physical properties of YBa2Cu3Ox (Y123) and YBa4Cu5Ox (Y145) superconductors by solid state reaction and melt process. They found that the critical temperature onset of Y145 is 94 K and 96 K for solid state reaction and melt process, respectively. The peritectic temperature of Y145 is 1018°C.

       There are four formula of YBaCuO that having one Yttium atom in unit cell i.e. Y123, Y134, Y145 and Y156 proposed by Chainok et al. [13]. The Y123 superconductor has been investigated completely. We use the data from Y123 to be our guideline. There was little data from Y145 then we interested in Y145 superconductor. We synthesized Y134 superconductor doped Ag2O by solid state reaction and investigated the effect of Ag2O addition on the critical temperature of Y134 superconductor.

 

Experimental Details

       We synthesized the YBa4Cu5AgxO9-δ (x = 0, 0.05, 0.10) by standard solid state reaction method with the appropriate amount of 0Y2O3, CuO, Ag2O and BaCO3. After mixed and ground with mortar and pestle, the powder was kept in alumina crucible and heated at 9200C for the calcination process. Although the peritectic temperature of Y145 superconductor is about 1080°C but the melting point of silver oxide is about 280°C. However, the research of Rani, Jha and Awana [9] studied the effect of silver on Y123 superconductor by using Ag2O addition with the calcination temperature at 870°C, 890°C, and 910°C and sintering temperature at 920°C. They also found some effect of silver on Y123 superconductor. Then we used the calcination and sintering temperature at 920°C. After calcinations the materials was ground to enhance chemical homogeneity. The homogeneous powder was pressed to form of pellets before sintering. These pellets sintered in air at 920°C and the final annealing at 550°C was done. The surface morphology of as samples obtained had been investigated by scanning electron microscope (JSM-5600). The electrical resistivity has been measured by standard four probe method.

Fig. 1. Shown the normalized resistivity versus temperature of Y145 and Y145 with Ag-doped superconductors

 

Results and Discussion

       The resistivity measurement depending on temperature of our samples obtained was conducted with four-point probe technique in range 78-120 K as shown in Fig. 1. And the summation of Tc onset and Tc offset were shown in Table 1. Here, the Tc onset temperature was taken as the temperature at which the tangent of the resistivity versus temperature curve intersects with the tangent of the part where resistivity dropped abruptly and Tc offset was defined as the temperature at which the resistivity readings reached zero.

       The highest critical temperature was in Y145+0.1Ag sample with Tc onset at 96 K and the lowest was found in pure Y145 at 95 K. Our critical temperature found was in the same range of YBaCuO superconductor [10-13]. Here, Chainok et.al [13] found the critical temperature onset of Y145 superconductors at 94 K and 96 K prepared by solid state reaction and melt process.

Fig. 2. The SEM images of Y145 and Y145 doped silver.

       From Fig. 2, we found that the surface of Y145 superconductor was improved by Ag adding on the porous structure.

 

Conclusions

       The Y145 superconductor doped Ag2O were synthesized by solid state reaction. The calcinations and sintering temperature were at 920°C and annealing temperature was at 550°C. The highest critical temperature was in Y145+0.1Ag sample with Tc onset at 96 K and the lowest was found in pure Y145 at 95 K. We found that the surface of Y145 superconductor was improved by Ag adding on the porous structure.

 

Reference

[1] K. Wu, J. R. Ashburn, C. J. Torng, P. H. Hor, R. L. Meng, L. Gao, Z. J. Huang, Y. Q. Wang, C. W. Chu, Effect of compaction on the superconducting transition of YBa2Cu3O9-y compound, Phy. Rev. Lett. 58 (1987) 908.

[2] M. Karppinen, H. Yamauchi, Hole-doping routes for understanding the relationship between atomic arrangements and superconductivity properties in multi-layered copper oxides, J. Inorg. Mater. 2(6) (2000) 589-599.

[3] K. Salama, V. Selvamanickan, L. Gao, K. Sun, High current density in bulk YBa2Cu3Ox superconductor, Appl. Phys. Lett. 54 (1989) 2352.

[4] S. Ravi, V. Seshu Bai, ac-susceptibility study of the 110-K superconducting phase of Bi-Sr-Ca-Cu-O, Phys. Rev. B. 49(18) (1994) 13082.

[5] D. X. Chen, R. B. Goldfarb, J. Nogues, K. V. Rao, Magnetic susceptibility of sintered and powdered Y‐Ba‐Cu‐O, J. Appl. Phys. 63 (1988) 980.

[6] T. Nishio, T. Y. Itoh, Y. F. Ogasawara, M. Suganuma, Y. Yamada, U. Mizutani, Superconducting and mechanical properties of YBCO-Ag composite superconductors, J. Mater. Sci. 24, (1989) 3228-3234

[7] A. P. Li, Q. N. Ni, Q. P. Kong, Mechanical properties of Ag-doped YBa2Cu3O7−y superconductors, Phys. Status Solidi a 27 (1991) 187-193.

[8] B. Shao, A. Liu, Y. Zhou, J. Zhang, J. Wang, Effect of Ag-doping on critical current densities in high Tc superconducting materials of YBa2Cu3O7-x, Mat. Res. Bull. 24(11) (1989) 1369-1373.

[9] P. Rani, R. Jha, V. P. S Awana, AC Susceptibility Study of Superconducting YBa2Cu3O7: Agx Bulk Composites (x = 0.0–0.20): The Role of Intra and Intergranular Coupling, J. Supercond. Nov. Magn. 26 (2013) 2347–2352.

[10] P. Udomsamuthirun et al. The new superconductors of YBaCuO materials, J. Supercond. Nov. Magn. 23 (2010) 1377-1380.

[11] A. Aliabadi et al. A new Y-based HTSC with Tc above 100 K, Physica. C. 469(22) (2009) 2012-2014.

[12] P. Chainok, T. Khuntak, S. Sujinnapram, S. Tiyasri, W. Wongphakdee, T. Kruaehong, T. Nilkamjon, S. Ratreng, P. Udomsamuthirun, Some properties of YBam Cu 1+m Oy (m = 2, 3, 4, 5) superconductors, Int. J. Mod. Phys. B 29(9) (2015) 1550060.

[13] P. Chainok, S. Sujinnapram, T. Nilkamjon, S. Ratreng, K. Kritcharoen, P. Butsingkorn, P. Ruttanaraksa, P. Udomsamuthirun, The preparation and characterization of Y145 superconductor, Adv. Mat. Res. 770 (2013) 295-298.

การแตกสลายเชิงเร่งปฏิกิริยาของพอลิเมทิลเมทาคริเลตด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์

การแตกสลายเชิงเร่งปฏิกิริยาของพอลิเมทิลเมทาคริเลตด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์

สุภาภรณ์ คางคำ


View Fullscreen

ปัญหาสังคม

ปัญหาสังคม

Problems and Society

นางลักษณา เกยุราพันธ์


แบบฟอร์มสำหรับการนำเสนอบทสรุปผลงานทางวิชาการ

ชื่อผลงานทางวิชาการ : ปัญหาสังคม (Problems and Society)

ประเภทผลงานทางวิชาการ : หนังสือประกอบการเรียนการสอน ปัญหาสังคม

ปีที่พิมพ์ : พ.ศ. 2557

ข้อมูลเพิ่มเติม : สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

ชื่อเจ้าของผลงานทางวิชาการ : นางลักษณา เกยุราพันธ์ คณะครุศาสตร์

บทนำเข้าสู่ความน่าสนใจ : หนังสือประกอบการเรียนการสอนวิชาปัญหาสังคมนี้ เป็นเนื้อหาที่เน้นปัญหาสังคมที่เกิดจากแนวคิดหรือทัศนคติจากความบกพร่องของสถาบันสังคม ในด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคม การศึกษาและวัฒนธรรม ปัญหาสังคมที่ส่งผลกระทบต่อสังคมทำให้หน่วยงานจำเป็นต้องให้ความร่วมมือเร่งแก้ปัญหาเพื่อลดความรุนแรง ดังนั้นการนำหนังสือเล่มนี้มาใช้ประกอบการเรียนการสอนจะทำให้ทราบถึงปฏิกิริยาที่แตกต่างกันของบุคคลเมื่อเกิดปัญหาก็จะส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม

สรุปสาระสำคัญของผลงานทางวิชาการ : ปัญหาสังคมเป็นสถานการณ์ที่สมาชิกของสังคมไม่พึงปรารถนาหรือเห็นว่าจะเป็นอันตรายต่อสมาชิก ถ้าปล่อยทิ้งไว้และคนส่วนใหญ่พิจารณาแล้วว่าเป็นสภาวะที่ไม่ต้องการให้เกิดขึ้นและเมื่อปัญหาเกิดขึ้นจำเป็นต้องให้ความร่วมมือกันในหมู่สมาชิกของสังคมที่จะช่วยกันขจัดการแก้ไขป้องกันและมีการแสดงออกในรูปแบบของการกระทำที่แตกต่าง สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาสังคม ได้แก่ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เกิดจากการเสียระเบียบทางสังคมและเกิดจากพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากบรรทัดฐานของสังคม

ปัญหาสังคมมี 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ปัญหาสังคมอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีกับปัญหาเรื่องของพฤติกรรมการเบี่ยงเบนจากปกติและความไม่เป็นระเบียบในสังคม เมื่อเกิดปัญหาก็จะมีผลกระทบตามมา เช่น ผลเสียทางเศรษฐกิจ ผลเสียทางสังคมและผลที่เกิดแก่ผู้เกี่ยวข้องกับการสร้างปัญหาสังคม เช่น การเสื่อมเสียเกียรติยศ จากสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นทั้งในอดีตและปัจจุบันนั้น พบว่าเกิดจากการเปลี่ยนแปลงเป็นอุตสาหกรรมการผลิต การเป็นเจ้าของธุรกิจ การอพยพเคลื่อนย้าย เมืองและสังคมอุตสาหกรรมสมัยใหม่ ค่านิยมและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีวิทยาการสมัยใหม่

วิธีการแก้ไขปัญหาทางสังคมมี 5 ประการ กล่าวคือ

1. ใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับพยาธิทางสังคม จำเป็นต้องกำหนดโครงสร้างเพื่อพฤติกรรมหน้าที่ต่างๆ ในสังคม เช่น การผลิตสมาชิกใหม่แต่ละสถาบันต้องปรับตัวเข้าหากัน เช่น สถาบันครอบครัวต้องปฏิบัติตามโครงสร้าง 2. ทฤษฎีการเสียระเบียบหรือความไม่เป็นระเบียบทางสังคม เกิดจากการรวมตัวอย่างมีกฎเกณฑ์และแน่นอนตามที่สังคมคาดหวังให้สมาชิกปฏิบัติตามสังคมนั้นๆ 3. ทฤษฎีเกี่ยวกับความขัดแย้งในคุณค่า พฤติกรรมเบี่ยงเบนอาจเป็นเพียงสถานการณ์ที่ไม่สอดคล้องกับคุณค่าที่กลุ่มยึดถือ แก้ไขโดยการเห็นพ้องต้องกัน การต่อรองหรือการใช้อำนาจ หรือการทำตามที่ตนเห็นสมควร 4. ทฤษฎีพฤติกรรมเบี่ยงเบน ก่อให้เกิดการกระทำผิดมีผลกระทบต่อสังคมโดยตรง เช่น การลักขโมย

สังคมจึงควรให้โอกาสให้ผู้เรียน รู้ระเบียบวินัย ความประพฤติที่ดีงามเพื่อให้เป็นที่สังคมทั้งระบบสังคมยอมรับไม่เข้มงวดเกินไป เปิดโอกาสอันชอบธรรมและเป้าหมายต่างๆ อย่างทั่วถึงจนสามารถสำเร็จได้ และทฤษฎีตีตรา เชื่อว่าการกระทำใดจะเป็นการเบี่ยงเบนขึ้นอยู่กับสังคมที่บุคคลเป็นสมาชิก ดังนั้นควรมีวิธีการแก้ไขปัญหาและป้องกันได้ เช่น การอบรมสั่งสอนและถ่ายทอดวัฒนธรรม การลงโทษ การให้การศึกษา ใช้คำสอนทางศาสนา หน่วยงานแนะแนวและให้คำปรึกษา

หน่วยงานที่ตั้งขึ้นเพื่อบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคม การประกันสังคม การประชาสงเคราะห์ ครอบครัว และการใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับการแก้ปัญหามี 2 วิธีใหญ่ คือ การแก้ปัญหาแบบย่อย และการแก้ไขแบบเท่าทัน สำหรับการแก้ปัญหาสังคมตามแนวคิดทฤษฎี ประกอบด้วยแนวคิดทฤษฎีแนว  Consensus , แนวคิดทฤษฎีแนว Structural – Function , แนวคิดทฤษฎี Conflict , แนวคิดจากทฤษฎี Symbolic Interactionism และแนวคิดทฤษฎี Neoconservative

จุดเด่น / การนำไปใช้ประโยชน์ : พบว่าหนังสือปัญหาสังคมเล่มนี้มีจุดเด่นหลายประการ อาทิเช่น พฤติกรรมและความต้องการของวัยรุ่นขึ้นอยู่กับค่านิยม ซึ่งแต่ละคนยึดถือเป็นแนวปฏิบัติและยึดถือตามกระแสนิยมตอบสนองความต้องการของตัวเอง กลุ่มมีอิทธิพลเพราะต้องการยอมรับในสังคม ต้องการมั่นคงในชีวิต ต้องการเรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ๆ

ประโยชน์ / คุณค่าของหนังสือ : มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ผลิตบัณฑิตที่เป็นวัยรุ่นตอนกลางและวัยผู้ใหญ่ จึงมีพฤติกรรมต้องการความรัก ต้องการความสนุกสนาน ต้องการความเป็นอิสระ ต้องการได้รับการยกย่อง มีความสนใจในเรื่องเพศและเพื่อนต่างเพศ ต้องการรวมกลุ่ม ต้องการยอมรับจากผู้ใหญ่ ต้องการแบบอย่างที่ดี ต้องการประสบการณ์ใหม่ๆ ความรู้สึกรุนแรง ต้องการมีอนาคตและต้องการความปลอดภัยและความมั่นคง ดังนั้นคณาจารย์และผู้บริหารมหาวิทยาลัยทุกระดับ ต้องให้ความสำคัญวัยรุ่น เพราะมหาวิทยาลัยมีบทบาทพัฒนาทัศนคติและพฤติกรรม ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นโดยตรง สิ่งที่คณาจารย์ต้องรีบดำเนินการ ควรให้การยอมรับความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล เปิดโอกาสให้เข้ากลุ่มพบปะสังสรรค์ สอนเรื่องเพศตามความเป็นจริงให้เป็นเรื่องธรรมดา ให้คำแนะนำที่ถูกต้องให้เสรีภาพตามความเหมาะสม ให้รู้จักใช้สิทธิและหน้าที่สร้างความซื่อสัตย์ สร้างระเบียบวินัย การเป็นแบบอย่างที่ดี ปลูกฝังการช่วยเหลือตนเอง ส่งเสริมให้ใช้สติปัญญาและสอนให้รู้จักหลักการประหยัด

อื่นๆ ตามความเหมาะสม : มหาวิทยาลัยควรจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเน้นด้านป้องกันแก้ไขปัญหาเด็กวัยรุ่นในการกระทำผิด จัดทำค่ายเรียนรู้จากครอบครัวสู่มหาวิทยาลัย เปิดโอกาสให้ครอบครัวมาเข้าร่วมกิจกรรมกับนิสิตนักศึกษาในค่ายนั้นๆ เพราะสถาบันครอบครัวมีการใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา การให้กำลังใจ การใกล้ชิดวัยรุ่นอาจจะช่วยลดปัญหาความขัดแย้งเบื้องต้นของวัยรุ่นได้ระดับหนึ่ง

 

รองศาสตราจารย์ศรีมงคล เทพเรณู บรรณากร


จิตวิทยาการพัฒนาการ

จิตวิทยาการพัฒนาการ

นางสาวปัญจนาฏ วรวัฒนชัย


แบบฟอร์มสำหรับการนำเสนอบทสรุปผลงานทางวิชาการ

ชื่อผลงานทางวิชาการ : จิตวิทยาการพัฒนาการ

ประเภทผลงานทางวิชาการ : หนังสือเพื่อการศึกษาค้นคว้าประกอบการเรียนรู้

ปีที่พิมพ์ : พ.ศ. 2559

ข้อมูลเพิ่มเติม : จัดพิมพ์โดย ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ISBN 978-616-426-019-4 พิมพ์ที่โรงพิมพ์พลัฏฐกรการพิมพ์ นนทบุรี 11130

ชื่อเจ้าของผลงานทางวิชาการ : นางสาวปัญจนาฏ วรวัฒนชัย

ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาจิตวิทยา คณะครุศาสตร์

บทนำเข้าสู่ความน่าสนใจ : จิตวิทยาพัฒนาการเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ในแต่ละช่วง เริ่มตั้งแต่การปฏิสนธิจนถึงวันชรา ประกอบด้วยศาสตร์หลายแขนง อาทิเช่น จิตวิทยา มนุษยวิทยา ชีววิทยา และสังคมวิทยา วิธีการศึกษาจิตวิทยาพัฒนาการมี 6 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ขั้นปัญหา ขั้นที่ 2 การทบทวนความรู้ ขั้นที่ 3 การสังเกต ขั้นที่ 4 การตั้งสมมุติฐานหรือการตั้งทฤษฎีขึ้นมา ขั้นที่ 5 ทดสอบสมมุติฐาน และขั้นที่ 6 การประยุกต์ใช้

การพัฒนาการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทางด้านคุณภาพที่ติดต่อกันไป เป็นลำดับที่ทุกส่วนต่อเนื่องกันในระยะเวลาและจะก้าวหน้าไปเรื่อยๆ เป็นขั้นๆ เป็นระยะ ทำให้มีลักษณะและความสามารถใหม่ๆ เกิดขึ้น

สรุปสาระสำคัญของผลงานทางวิชาการ : การศึกษาทางด้านพัฒนาการมนุษย์สามารถทำได้ด้วยวิธีการศึกษาระยะยาว ศึกษาแบบภาคตัดขวาง ศึกษาเป็นรายกรณี การทดลอง การสำรวจ การสังเกต สังคมมิติ การสัมภาษณ์ การศึกษาสหสัมพันธ์ ศึกษาข้ามวัฒนธรรม จดบันทึกประจำวัน และการใช้แบบทดสอบ เพราะการพัฒนาการของมนุษย์นั้นเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดความสามารถใหม่จากต่ำไปสูง เป็นกระบวนการเริ่มตั้งแต่ก่อนเกิด ระเบียบแบบแผนของการพัฒนาการจะมีลักษณะ ได้แก่ พัฒนาการจะเป็นไปตามแบบแผนเฉพาะ เริ่มจากส่วนบนไปสู่ส่วนล่าง เริ่มจากแกนกลางของลำตัวไปสู่อวัยวะส่วนล่างเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในแต่ละวัยจะมีลักษณะเฉพาะวัย ทุกคนจะมีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการ 2 อย่าง คือ วุฒิภาวะกับการเรียนรู้ แต่จะมีสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการ อาทิเช่น สติปัญญา เพศ ต่อมต่างๆ ในร่างกาย อาหาร อากาศบริสุทธิ์และแสงแดด การบาดเจ็บหรือได้รับโรคภัยไข้เจ็บ เชื้อชาติ วัฒนธรรม ลำดับการเกิดและการอบรมเลี้ยงดู ทฤษฎีพัฒนาการที่นำมาประกอบการศึกษาพัฒนาการ ได้แก่ ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์ ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์ ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพของฟรอยด์ ทฤษฎีพัฒนาการทางสังคมของอิริคสัน ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์กและทฤษฎีงานของตามขั้นพัฒนาการของฮาวิกเฮอร์ส

หลักสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการทารก คือ ความรู้สึกพ่อแม่ต้องมีชีวิตชีวาในการเป็นพ่อแม่ ประกอบด้วย สัญชาตญาณของการเป็นพ่อแม่ วัยเด็กแบ่งเป็นวัยเด็กตอนต้น ต้องการเป็นตัวของตัวเอง ต้องการอิสระสามารถช่วยตัวเองได้ จึงสอนยากเป็นช่วงสำคัญมากที่ต้องเรียนรู้พื้นฐานทางสังคม เพื่อเรียนรู้พฤติกรรมที่เหมาะสมเพื่อเตรียมเข้าสู่สังคม ชอบอยากรู้อยากเห็น ชอบสำรวจสิ่งรอบตัวมีความคิดสร้างสรรค์ ร่างกายพัฒนาการเจริญเติบโตค่อนข้างเชื่องช้า แต่พัฒนาการทางสติปัญญาเร็วมาก เพราะความอยากรู้อยากเห็น สำหรับพัฒนาการทางอารมณ์ซ้ำซ้อนมาก รุนแรงมาก อารมณ์โกรธจะเกิดบ่อยครั้ง พัฒนาการทางสังคมสามารถช่วยเหลือตนเองได้ แต่มีทัศนคติต่อต้าน เลียนแบบ ก้าวร้าว วัยเด็กตอนกลาง เริ่มเข้าโรงเรียนเรียนรู้กฎเกณฑ์ระเบียบของสังคม ฝึกฝนอบรมให้ประพฤติปฏิบัติตามลักษณะที่พึงประสงค์ของหมู่คณะ ก้าวหน้าในการเรียนรู้ สนใจการทำงานเป็นหมู่คณะแสดงออกความเป็นตัวของตัวเอง มีความสามารถอ่าน เขียน เพิ่มขึ้น แต่ร่างกายเจริญเติบโตช้า วัยเด็กตอนปลายเริ่มมีวุฒิภาวะทางกายหรือเรียกว่า วัยเข้าสู่วัยรุ่น ชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงหลายด้าน ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ ทัศนคติและพฤติกรรมต่างๆ ซึ่งมีผลมาจากการที่เด็กได้ปะทะสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมกว้างขวางขึ้น สำหรับวัยรุ่นย่างเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ ใช้ภาวะร่างกายกับภาวะสุกถึงขีดของร่างกายเป็นเครื่องตัดสิน เป็นวัยหัวเลี้ยวหัวต่อระหว่างความเป็นเด็กความเป็นผู้ใหญ่ จึงเกิดการสับสนในบทบาทและความขัดแย้งกับผู้ใหญ่และเพื่อนร่วมวัย จึงเกิดการตึงเครียดนำไปสู่ปัญหา การแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ถ้าแก้ไขไม่ได้จะกลายเป็นเด็กวัยรุ่นที่มีเอกลักษณ์สับสน มีบุคลิกภาพไม่มั่นคง ผู้ใหญ่จึงควรช่วยให้เด็กทราบถึงบทบาทและหน้าที่ของตนเองอย่างชัดเจน จะเกิดความรู้สึกต้องการอุทิศตนให้แก่สังคมได้ ประกอบด้วย วัยรุ่นตอนต้น วัยรุ่นตอนปลาย และวัยผู้ใหญ่เป็นช่วงสุดท้ายของชีวิตที่มียาวนานตั้งแต่ 21 – 60 ปี มีหน้าที่ต้องรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่นที่เกี่ยวข้อง แต่ลักษณะความเป็นผู้ใหญ่แตกต่างกัน เพราะแต่ละคนมีพัฒนาการทางบุคลิกภพแตกต่างกันจึงยากต่อการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ยังต้องเผชิญกับฐานะการเปลี่ยนแปลง การเลือกอาชีพ การเลือกคู่ครอง ปัญหาชีวิตครอบครัว การใช้ชีวิตหลังเกษียณ ซึ่งแบ่งเป็นวัยผู้ใหญ่ตอนต้น 20 – 40 ปี มีการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกาย เริ่มสูญเสียความสามารถทางการสืบพันธุ์ วัยผู้ใหญ่ตอนกลางหรือวัยกลางคน 40 – 60 ปี ร่างกายและจิตใจเริ่มเปลี่ยนแปลงทางเสื่อมและวัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรือวัยชรา 60 ปีหรือ 65 ปี จนถึงสิ้นสุดชีวิต เป็นวัยที่ร่างกาย จิตใจเสื่อมลงอย่างรวดเร็ว

จุดเด่น / การนำไปใช้ประโยชน์ : จากเนื้อหาของหนังสือจิตวิทยาพัฒนาการนี้ พบว่ามีจุดเด่นหลายแห่ง อาทิเช่น วัยรุ่นตอนต้น จะพยายามทำตัวให้เหมือนผู้ใหญ่ เพราะสภาพแวดล้อมมีผลต่อทัศนคติและความรู้สึกที่รุนแรงมาก จึงแสดงพฤติกรรมเรียกร้องความสนใจจากบุคคลอื่นๆ ซึ่งเป็นลักษณะพัฒนาการของวัยรุ่นตอนต้นที่เน้นทางสรีระทั้งส่วนสูงและน้ำหนักและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ นอกจากนั้นจะพบว่าด้านพัฒนาการทางอารมณ์ สติปัญญาและสังคม ยังเป็นส่วนประกอบที่จะทำให้ก้าวสู่วัยผู้ใหญ่ได้อย่างเต็มที่ สำหรับวัยรุ่นตอนปลายนั้นอยู่ระหว่าง 17 -20 ปี เริ่มมีทัศนคติ แบบแผนของชีวิตแน่นอนสามารถปรับตัวเข้ากับปัญหาต่างๆ ได้ ตั้งแต่ การทำงาน การเงิน การเรียน ความสัมพันธ์ทางเพศ แต่ผู้ใหญ่กลับสนใจน้อยลง ดังนั้นลักษณะวัยรุ่นตอนปลาย จึงเป็นเรื่องของพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่วัยรุ่นตอนต้น ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจและทางสังคม เพราะเริ่มมีวุฒิภาวะสมบูรณ์

การนำไปใช้ประโยชน์ : จากเนื้อหาของหนังสือจิตวิทยาพัฒนาการนี้ มหาวิทยาลัยฐานะสถาบันผลิตคนออกสู่สังคมในหลายรูปแบบ ทั้งภาคธุรกิจ ธุรกิจบริการ อาชีพครู อิสระแม้กระทั้งจิตบริการหรือแพทย์ ผู้สอนจำเป็นต้องเรียนรู้จิตวิทยาเกี่ยวกับพัฒนาการผู้เรียนจะได้ปรับประยุกต์กระบวนการสอนให้เหมาะสม ตั้งแต่การมอบหมายงานทั้งกลุ่มและเดี่ยว ซึ่งจะช่วยด้านกระบวนการพัฒนาการทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจและสังคมด้วย ผู้สอนอย่าเข้มงวดจนเกินไปจนทำให้นิสิตนักศึกษาขาดความมั่นใจในตนเองได้ ยอมรับนับถือความคิดส่วนบุคคลของนิสิตนักศึกษาด้วย มหาวิทยาลัยควรสำรวจว่าผู้สอนบางคนที่ไม่มีวุฒิครูทางการสอนทุกศาสตร์ ควรเรียนหรืออบรมวิชาจิตวิทยาพัฒนาการด้วยจะดีมาก โดยการจัดเป็นคอร์สสั้นๆ  (Mini Course) ใช้เวลา 3 – 5 วัน เชิญวิทยากรมาให้ความรู้ เพราะการเรียนการสอน Child Coontre ผู้เรียนเป็นสำคัญตามที่ สกอ. และคุรุสภากำหนดไว้ หรือตามที่แผนการศึกษาชาติฉบับปัจจุบันกล่าวไว้

อื่นๆ ตามความเหมาะสม : นอกจากนี้ สำนักกิจการนิสิตนักศึกษา ควรให้ความสำคัญกับพัฒนาการของนิสิตนักศึกษาและพบว่า วัยของผู้สอนกับนิสิตนักศึกษาใกล้เคียงกันอาจจะทำให้การจัดการเรียนการสอนยาก ยิ่งจำเป็นต้องรีบจัดกิจกรรมพัฒนาผู้สอน ( อาจารย์ใหม่ๆ ) ให้มีความรู้จิตวิทยาการพัฒนาการอย่างมาก อาจเสนอในรูปโครงการเข้าค่ายปรับตัว ปรับสภาพ เรียนรู้ซึ่งกันและกัน

 

รองศาสตราจารย์ศรีมงคล เทพเรณู บรรณากร