3.8 เอกสารอ้างอิง
กรวรรณ สังขกร. (2555). การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2556). การประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : สำนักวิชา วิทยาศาสตร์การกีฬา.
จารุจน์ กลิ่นดีปลี. (2541). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ บริษัท เพรส แอนด์ ดีไซน์ จำกัด.
จุฑาภรณ์ ทองเพ็ง. (2554). ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดโสธรวรารามวรวิหาร จังหวัดฉะเชิงเทรา. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ฐิติกานต์ นิยมอดุลย์. (2553). ความต้องการของคนพิการต่อสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการเข้าถึงบริการทางสังคม : กรณีศึกษา อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต. สารนิพนธ์สังคมสงเคราะห์ ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อัดสำเนา).
ธนายุส ธนธิติ. (2549). สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการและเพื่อทุกคนในสังคม. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาอาชีวศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
น้อมจิตต์ นวลเนตร์ และสิริรักษ์ ภาภิรมย์. (2549). สำรวจสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการในเขตเมืองขอนแก่น. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน ประจำปี 2549.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลยัเชียงใหม่ และสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2543). การบริหารและการจัดการท่องเที่ยว.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2542). การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. คณะมนุษยศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พจนานุกรมไทยฉบับทันสมัย. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2543.
พิทักษ์ ศิริวงศ์ และปัทมอร เส็งแดง. (2554). การท่องเที่ยวของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวในสังคมไทย. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 4 : หน้าที่ 221-228.
ภัทรกิติ์ โกมลกิติ. (2551). ชีวิตและข้อจำกัดด้านการเดินทางของผู้พิการไทย. วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ปี 2551 : หน้าที่ 63-77.
มนัส สุวรรณ และคณะ. (2541). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาแนวทางและการจัดการท่องเที่ยวในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) และสภาตำบล (สต.) เชียงใหม่. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
มนัส สุวรรณ และคณะ. (2541). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาแนวทางและการจัดการท่องเที่ยวในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) และสภาตำบล (สต.).
รำไพพรรณ แก้วสุริยะ. (2544). หลักการจัดการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วิวัฒน์ชัย บุณยภักดิ์. (2531). การท่องเที่ยว. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
ศิริจรรยา ประพฤติกิจ. (2553) การประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวในอำเภอเมือง จังหวัดตราด เพื่อจัดทำเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.