วิธีดำเนินการวิจัย
รูปแบบของการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) ประเภทวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional analysis)
1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ศึกษาในครั้งนี้เป็นกลุ่มผู้ประกอบอาชีพซาเล้ง ในพื้นที่เขตยานาวา กรุงเทพมหานคร มีจำนวนทั้งสิ้น 20 คนกลุ่มตัวอย่างจึงเก็บข้อมูลทั้งหมดคนนค
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม ที่นำมาจากวิราภรณ์ ทองยัง (2552) แบ่งเป็น 4 ส่วน ตอนที่ 1 ข้อมูลปัจจัยนำ เป็นแบบสอบถามข้อมูลคุณลักษณะส่วนบุคคล ลักษณะนิสัย แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงาน และ แบบสอบถามเจตคติต่อการป้องกันโรคและบาดเจ็บจากการทำงาน ตอนที่ 2 ข้อมูลปัจจัยเอื้อ เป็นแบบสัมภาษณ์ความพึงพอใจในงานเกี่ยวกับความรู้สึกที่ดีของซาเล้งที่มีผลต่อการปฏิบัติ การได้รับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ ตอนที่ 3 ปัจจัยเสริม เป็นแบบสอบถามการได้รับการสนับสนุนทางสังคมและการดูแลเอาใจใส่ตลอดจนคำแนะนำ เกี่ยวกับการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงาน จากบุคคลในครอบครัว ผู้นำชุมชน/อสม. และบุคลากรสาธารณสุข ตอนที่ 4 พฤติกรรมการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานเป็นแบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานของซาเล้ง
3. การวิเคราะห์ข้อมูล
ใช้สถิติพรรณนา (Descriptive statistic) และสถิติวิเคราะห์ (Analytical statistic) ใช้ฟิชเชอร์ เอ็กแชคเทส ) ( Fisher’s Exact Test )
ผลการวิจัย
ส่วนที่ 1 ปัจจัยนำเข้า
ซาเล้งมีอายุอยู่ในช่วง 50 ปนขึ้นไป เพศชายเท่ากับเพศหญิงมีสถานภาพสมรสคู่มีระดับการศึกษาในระดับประถมศึกษา มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนน้อยกว่ากับบาท ส่วนใหญ่มีรายได้พอ1คคค กับรายจ่ายมีประสบการณ์การทำงานมากกว่า 15 ปนมีการรับรู้ภาวะสุขภาพร่างกายใน 1 สัปดาห์ที่ผ่านมามีภาวะสุขภาพปานกลางและสุขภาพแข็งแรงดีเท่าๆกันมีการตรวจสุขภาพประจำปนเมื่อได้รับบาดเจ็บจากการทำงานจะซื้อยามารับประทานเองส่วนใหญ่มีลักษณะนิสัยส่วนบุคคลเป็นคนชอบเก็บตัวมีระดับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานในระดับปานกลางมีเจตคติเกี่ยวกับการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานอยู่ในระดับต่ำ
ส่วนที่ 2 ปัจจัยเอื้อ
ตารางที่ 1 แสดงระดับความพึงพอใจในการประกอบอาชีพซาเล้งจำแนกตามจำนวนและร้อยละ
ระดับความพึงพอใจในการประกอบอาชีพซาเล้ง |
จำนวน (คน) |
ร้อยละ |
ระดับปานกลาง (11 -15 คะแนน) ระดับสูง (16 คะแนนขึ้นไป) |
1 19 |
5.0 95.0 |
รวม |
20 |
100.0 |
จากตารางที่ 1 พบว่า ซาเล้งส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในการประกอบอาชีพซาเล้งในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 95.0
ตารางที่ 2 แสดงระดับการได้รับการอบรมเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานจำแนกตามจำนวนและร้อยละ
ระดับการได้รับการอบรมเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทางาน |
จำนวน ( คน) |
ร้อยละ |
ระดับต่ำ (ต่ำกว่า13 คะแนน) ระดับปานกลาง (14 -19 คะแนน) ระดับสูง (20 คะแนนขึ้นไป) |
1 14 5 |
5.0 70.0 25.0 |
รวม |
20 |
100.0 |
จากตารางที่ 2 ซาเล้งส่วนใหญ่ได้รับการอบรมเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 70.0
ตารางที่ 3 แสดงการได้รับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพของซาเล้งจำแนกตามจำนวนและร้อยละ
ระดับการได้รับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ |
จำนวน ( คน ) |
ร้อยละ |
ระดับต่า (ต่ากว่า10 คะแนน( ระดับปานกลาง )11 –15 คะแนน( |
14 6 |
70.0 30.0 |
รวม |
20 |
100.0 |
จากตารางที่ 3 ซาเล้งส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพเกี่ยวกับการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานจากสื่อสารต่างๆในระดับต่ำ คิดเป็นร้อยละ 70.0
ส่วนที่ 3 ปัจจัยเสริม
ตารางที่ 4 แสดงการได้รับการสนับสนุนทางสังคมของซาเล้งจำแนกตามจำนวนและร้อยละ
ระดับการได้รับการสนับสนุนทางสังคม |
จำนวน ( คน) |
ร้อยละ |
ระดับต่ำ (ต่ำกว่า20 คะแนน) ระดับปานกลาง (21 –29 คะแนน) ระดับสูง (30 คะแนนขึ้นไป) |
8 7 5 |
40.0 35.0 25.0 |
รวม |
20 |
100.0 |
จากตารางที่ 4 พบว่า ซาเล้งส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมในระดับต่ำ คิดเป็นร้อยละ 40.0
ส่วนที่ 4 พฤติกรรมการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงาน
ตารางที่ 5 แสดงพฤติกรรมการป้องกันโรคและบาดเจ็บจากการทำงานของซาเล้งจำแนกตามจำนวนและร้อยละ
ระดับพฤติกรรมการป้องกันโรคและเก็บ บาดเจ็บจากการทางาน |
จำนวน ( คน) |
ร้อยละ |
ระดับปานกลาง (52 -81 คะแนน) ระดับสูง (42 คะแนนขึ้นไป) |
8 12 |
40.0 60.0 |
รวม |
20 |
100.0 |
จากตารางที่ 5 พบว่า ซาเล้งส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานอยู่ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 60.0
ส่วนที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริม กับพฤติกรรม การป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานของซาเล้ง
ตารางที่ 6 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคและการบาดเจ็บกับพฤติกรรมการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานของซาเล้ง
ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคและการบาดเจ็บ | พฤติกรรมการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงาน | ||||||
ปานกลาง – ค่อนข้างต่ำ | สูง | รวม | Fisher’s Exact Test | df | p-value | ||
ระดับต่ำ | 5 (25.0) | 11 (55.0) | 16 (80.0) | 1.826 | 1 | 0.05 | |
ระดับปานกลาง | 3 (15.0) | 1 (5.0) | 4 (20.0) | ||||
รวม | 8 (40.0) | 12 (60.0) | 20 (100) |
จากตารางที่ 6 พบว่า ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคและการบาดเจ็บมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ตารางที่ 7 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติกับการป้องโรคและการบาดเจ็บกับพฤติกรรมการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานของซาเล้ง (n = 20)
เจตคติ | พฤติกรรมการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงาน | ||||||
ปานกลาง – ค่อนข้างต่ำ | สูง | รวม | Fisher’s Exact Test | df | p-value | ||
ระดับต่ำ | 5 (25.0) | 11 (55.0) | 16 (80.0) | 1.826 | 1 | 0.05 | |
ระดับปานกลาง – สูง | 3 (15.0) | 1 (5.0) | 4 (20.0) | ||||
รวม | 8 (40.0) | 12 (60.0) | 20 (100) |
จากตารางที่ 7 พบว่า เจตคติกับการป้องโรคและการบาดเจ็บมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05