บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสหกรณ์ร้านค้า มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำกัด ผ่านเว็บไซต์ การหาประสิทธิภาพของระบบสหกรณ์ร้านค้ามหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ผ่านเว็บไซต์ และเพื่อประเมินความพึงพอใจของระบบสหกรณ์ร้านค้ามหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ผ่านเว็บไซต์ โดยผู้วิจัยได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับดังนี้
1. ผลการหาประสิทธิภาพของระบบสหกรณ์ร้านค้า มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำกัด ผ่านเว็บไซต์
2. ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสหกรณ์ร้านค้ามหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ผ่านเว็บไซต์
ผลการหาประสิทธิภาพของระบบสหกรณ์ร้านค้า มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำกัด ผ่านเว็บไซต์
ผลการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของระบบในแต่ละด้านของผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคจำนวน 3 คนดังนี้
ตารางที่ 4 แสดงผลการหาประสิทธิภาพของระบบด้านความสามารถในการทำงานของระบบ(Functional requirement test)
รายการประเมิน |
S.D. |
ระดับ |
|
1. ความสามารถในการจัดการด้านฐานข้อมูล |
4.67 |
0.58 |
มากที่สุด |
2. ความสามารถในการสืบค้นข้อมูล |
4.67 |
0.58 |
มากที่สุด |
3. ความสามารถในการแสดงรายละเอียดของข้อมูล |
4.33 |
0.58 |
มาก |
4. ความสามารถในการจัดการหมวดหมู่ของข้อมูล |
4.00 |
0 |
มาก |
สรุปผลด้านความสามารถในการทำงานของระบบ |
4.42 |
0.44 |
มาก |
จากตารางที่ 4 แสดงให้เห็นว่า ด้านประสิทธิภาพของระบบจากการประเมินผลการทดลองใช้ระบบของผู้เชี่ยวชาญ ด้านความสามารถในการทำงานของระบบ (Functional requirement test) โดยรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 4.42, S.D. = 0.44) การยอมรับประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก และเมื่อเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยในหัวย่อยพบว่า คะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ ความสามารถในการจัดการด้านฐานข้อมูลและความสามารถในการสืบค้นข้อมูล ( = 4.67, S.D. = 0.58 ) รองลงมาคือความสามารถในการแสดงรายละเอียดของข้อมูล ( = 4.33, S.D. = 0.58 )และค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ความสามารถในการจัดการหมวดหมู่ของข้อมูล ( = 4.00, S.D. = 0)
ตารางที่ 5 แสดงผลการหาประสิทธิภาพของระบบด้านความถูกต้องในการทำงานของระบบ (Functional test)
รายการประเมิน |
S.D. |
ระดับ |
|
1. ความถูกต้องในการทำงานของระบบในภาพรวม |
4.67 |
0.58 |
มากที่สุด |
2. ความถูกต้องในการบันทึกข้อมูลลงในระบบ |
4.33 |
0.58 |
มาก |
3. ความถูกต้องของการแสดงข้อมูลในการสืบค้น |
5.00 |
0 |
มากที่สุด |
4. ความถูกต้องของการรายงานข้อมูลจากการประมวลผล |
5.00 |
0 |
มากที่สุด |
สรุปผลด้านความถูกต้องในการทำงานของระบบ |
4.75 |
0.29 |
มากที่สุด |
จากตารางที่ 5 แสดงให้เห็นว่า ด้านประสิทธิภาพของระบบจากการประเมินผลการทดลองใช้ระบบของผู้เชี่ยวชาญ ด้านความถูกต้องในการทำงานของระบบ (Functional test) โดยรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 4.75, S.D. = 0.29) การยอมรับประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยในหัวย่อยพบว่า คะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ ความถูกต้องของการแสดงข้อมูลในการสืบค้น และ ความถูกต้องของการรายงานข้อมูลจากการประมวลผล ( = 5.00 , S.D. = 0) รองลงมาคือ ความถูกต้องในการทำงานของระบบในภาพรวม( = 4.67, S.D. = 0.58) และค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ความถูกต้องในการบันทึกข้อมูลลงในระบบ ( = 4.33, S.D. = 0.58)
ตารางที่ 6 แสดงผลการหาประสิทธิภาพของระบบด้านความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานของระบบ (Usability test)
รายการประเมิน |
S.D. |
ระดับ |
|
1. ความง่ายต่อการใช้งาน |
4.33 |
0.58 |
มาก |
2. ประสิทธิภาพในการออกแบบหน้าจอการทำงาน |
4.33 |
0.58 |
มาก |
3. ประสิทธิภาพในการกำหนดสีของหน้าจอโดยรวม |
4.00 |
0 |
มาก |
4. ประสิทธิภาพของรูปตัวอักษรที่ใช้ |
4.33 |
0.58 |
มาก |
5. การใช้ภาษาสื่อต่อการใช้งานตรงตามวัตถุประสงค์ |
4.33 |
0.58 |
มาก |
6. ประสิทธิภาพของการทำงานของระบบโดยรวม |
4.33 |
0.58 |
มาก |
สรุปผลด้านความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานของระบบ |
4.28 |
0.48 |
มาก |
จากตารางที่ 6 แสดงให้เห็นว่า ด้านประสิทธิภาพของระบบจากการประเมินผลการทดลองใช้ระบบของผู้เชี่ยวชาญ ด้านความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานของระบบ (Usability test)โดยรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 4.28, S.D. = 0.48) การยอมรับประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก และเมื่อเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยในหัวย่อยพบว่า คะแนนเฉลี่ยสูงสุดมี 5 รายการคือ ความง่ายต่อการใช้งาน ประสิทธิภาพในการออกแบบหน้าจอการทำงาน ประสิทธิภาพของรูปตัวอักษรที่ใช้ การใช้ภาษาสื่อต่อการใช้งานตรงตามวัตถุประสงค์ และประสิทธิภาพของการทำงานของระบบโดยรวม (= 4.33, S.D. = 0.58) และค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ประสิทธิภาพในการกำหนดสีของหน้าจอโดยรวม ( = 4.00, S.D. = 0)
ตารางที่ 7 แสดงผลการหาประสิทธิภาพของระบบด้านความปลอดภัยของระบบ (Security test)
รายการประเมิน |
S.D. |
ระดับ |
|
1. ประสิทธิภาพในการกำหนดสิทธิ์การใช้งานในระดับต่าง ๆ |
4.67 |
0.58 |
มากที่สุด |
2. ประสิทธิภาพในการตรวจสอบการป้อนข้อมูลเข้าในระบบ |
5.00 |
0 |
มากที่สุด |
3. ประสิทธิภาพในการรักษาความปลอดภัยของระบบ |
4.67 |
0.58 |
มากที่สุด |
สรุปผลด้านความปลอดภัยของระบบ |
4.78 |
0.39 |
มากที่สุด |
จากตารางที่ 7 แสดงให้เห็นว่า ด้านประสิทธิภาพของระบบจากการประเมินผลการทดลองใช้ระบบของผู้เชี่ยวชาญ ด้านความปลอดภัยของระบบ (Security test) โดยรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 4.78, S.D. = 0.39) การยอมรับประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยในหัวย่อยพบว่า คะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ ประสิทธิภาพในการตรวจสอบการป้อนข้อมูลเข้าในระบบ (= 5.00, S.D. = 0.39) รองลงมาคือ ประสิทธิภาพในการกำหนดสิทธิ์การใช้งานในระดับต่าง ๆ และประสิทธิภาพในการรักษาความปลอดภัยของระบบ(= 4.67, S.D. = 0.58)
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสหกรณ์ร้านค้ามหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ผ่านเว็บไซต์
ผู้วิจัยได้ทำการประเมินความพึงพอใจของพนักงานและสมาชิกสหกรณ์ โดยเลือกสุ่มตัวอย่างจำนวน 50 คน ดำเนินการโดยให้ทำแบบสอบถามหลังจากได้ทดลองระบบสหกรณ์ร้านค้ามหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาเรียบร้อยแล้ว ดังนี้
ตารางที่ 8 แสดงผลการหาความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบในส่วนการรับข้อมูล (พนักงานสหกรณ์)
รายการประเมิน |
S.D. |
ระดับ |
|
1. บันทึกข้อมูลได้ตรงตามที่ต้องการ |
4.38 |
0.52 |
มาก |
2. การใช้คำที่สื่อให้เกิดความเข้าใจในส่วนของการป้อนข้อมูล |
4.13 |
0.83 |
มาก |
3. ระบบป้องกันความผิดพลาดในการป้อนข้อมูล |
4.13 |
0.83 |
มาก |
4. ปรับเปลี่ยนข้อมูลได้ตามต้องการ |
4.25 |
0.46 |
มาก |
สรุปผลในส่วนของการรับข้อมูล |
4.22 |
0.66 |
มาก |
จากตารางที่ 8 แสดงผลความพึงพอใจในการใช้งานของผู้ใช้ระบบสหกรณ์ร้านค้ามหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ผ่านเว็บไซต์คือพนักงานสหกรณ์ ผลในส่วนของการรับข้อมูล โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( = 4.22, S.D. = 0.66) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าการประเมินทั้งหมดอยู่ในระดับมากโดยเรียงตามลำดับคือ บันทึกข้อมูลได้ตรงตามที่ต้องการ ( = 4.38, S.D. = 0.52) ปรับเปลี่ยนข้อมูลได้ตามต้องการ ( = 4.25, S.D. = 0.46) การใช้คำที่สื่อให้เกิดความเข้าใจในส่วนของการป้อนข้อมูล ( = 4.13, S.D. = 0.83) และระบบป้องกันความผิดพลาดในการป้อนข้อมูล ( = 4.13, S.D. = 0.83)
ตารางที่ 9 แสดงผลการหาความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบในส่วนการรับข้อมูล (สมาชิกสหกรณ์)
รายการประเมิน |
S.D. |
ระดับ |
|
1. บันทึกข้อมูลได้ตรงตามที่ต้องการ |
4.43 |
0.53 |
มาก |
2. การใช้คำที่สื่อให้เกิดความเข้าใจในส่วนของการป้อนข้อมูล |
4.22 |
0.52 |
มาก |
3. ระบบป้องกันความผิดพลาดในการป้อนข้อมูล |
4.25 |
0.61 |
มาก |
4. ปรับเปลี่ยนข้อมูลได้ตามต้องการ |
4.30 |
0.55 |
มาก |
สรุปผลในส่วนของการรับข้อมูล |
4.30 |
0.55 |
มาก |
จากตารางที่ 9 แสดงว่าความพึงพอใจในการใช้งานของผู้ใช้ระบบสหกรณ์ร้านค้ามหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ผ่านเว็บไซต์คือ สมาชิกสหกรณ์ ผลในส่วนของการรับข้อมูล โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( = 4.30, S.D. = 0.55) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าการประเมินทั้งหมดอยู่ในระดับมากโดยเรียงตามลำดับคือ บันทึกข้อมูลได้ตรงตามที่ต้องการ ( = 4.43, S.D. = 0.53) ปรับเปลี่ยนข้อมูลได้ตามต้องการ ( = 4.30, S.D. = 0.55) ระบบป้องกันความผิดพลาดในการป้อนข้อมูล ( = 4.25, S.D. = 0.61) การใช้คำที่สื่อให้เกิดความเข้าใจในส่วนของการป้อนข้อมูล ( = 4.22, S.D. = 0.52)
ตารางที่ 10 แสดงผลการหาความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบในส่วนการประมวลผล (พนักงานสหกรณ์)
รายการประเมิน |
S.D. |
ระดับ |
|
1. ระบบสามารถค้นหาข้อมูลได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ |
4.75 |
0.46 |
มากที่สุด |
2. ความรวดเร็วในการประมวลผลข้อมูล |
4.63 |
0.52 |
มากที่สุด |
3. ระบบคำนวณข้อมูลได้อย่างถูกต้อง |
4.50 |
0.53 |
มากที่สุด |
4. ระบบช่วยลดความซ้ำซ้อนของการทำงาน |
4.38 |
0.52 |
มาก |
สรุปผลในส่วนของหน่วยแสดงผล |
4.56 |
0.51 |
มากที่สุด |
จากตารางที่ 10 แสดงว่าความพึงพอใจในการใช้งานของผู้ใช้ระบบสหกรณ์ร้านค้ามหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ผ่านเว็บไซต์คือ พนักงานสหกรณ์ ผลในส่วนของการประมวลผล โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.56, S.D. = 0.51) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าการประเมินที่อยู่ในระดับมากที่สุดโดยเรียงตามลำดับคือ ระบบสามารถค้นหาข้อมูลได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ ( = 4.75, S.D. = 0.46) ความรวดเร็วในการประมวลผลข้อมูล ( = 4.63, S.D. = 0.52) ระบบคำนวณข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ( = 4.50, S.D. = 0.53) ส่วนของการประเมินที่อยู่ในระดับมากคือ ระบบช่วยลดความซ้ำซ้อนของการทำงาน ( = 4.38, S.D. = 0.52)
ตารางที่ 11 แสดงผลการหาความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบในส่วนการประมวลผล (สมาชิกสหกรณ์)
รายการประเมิน |
S.D. |
ระดับ |
|
1. ระบบสามารถค้นหาข้อมูลได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ |
4.34 |
0.59 |
มาก |
2. ความรวดเร็วในการประมวลผลข้อมูล |
4.22 |
0.52 |
มาก |
3. ระบบคำนวณข้อมูลได้อย่างถูกต้อง |
4.40 |
0.52 |
มาก |
4. ระบบช่วยลดความซ้ำซ้อนของการทำงาน |
4.24 |
0.52 |
มาก |
สรุปผลในส่วนของหน่วยแสดงผล |
4.30 |
0.54 |
มาก |
จากตารางที่ 11 แสดงว่าความพึงพอใจในการใช้งานของผู้ใช้ระบบสหกรณ์ร้านค้ามหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ผ่านเว็บไซต์คือ สมาชิกสหกรณ์ ผลในส่วนของส่วนการประมวลผล โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (= 4.30, S.D. = 0.54) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าการประเมินทั้งหมดอยู่ในระดับมากโดยเรียงตามลำดับคือ ระบบคำนวณข้อมูลได้อย่างถูกต้อง (= 4.40, S.D. = 0.52) ระบบสามารถค้นหาข้อมูลได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ (= 4.34, S.D. = 0.59) ระบบช่วยลดความซ้ำซ้อนของการทำงาน (= 4.24, S.D. = 0.52) และความรวดเร็วในการประมวลผลข้อมูล (= 4.22, S.D. = 0.52)
ตารางที่ 12 แสดงผลการหาความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบในส่วนของการแสดงผล (พนักงานสหกรณ์)
รายการประเมิน |
S.D. |
ระดับ |
|
1. ผลลัพธ์ที่ได้มีข้อมูลครบถ้วนถูกต้องและสมบูรณ์ |
4.00 |
0.53 |
มาก |
2. ผลลัพธ์สามารถนำไปใช้ในงานอื่นๆได้ |
4.38 |
0.52 |
มาก |
3. ระบบช่วยประหยัดเวลาในการจัดทำรายงาน |
4.38 |
0.52 |
มาก |
4. มีความสะดวกสบายในการใช้งาน |
4.25 |
0.71 |
มาก |
สรุปผลในส่วนของหน่วยประมวลผล |
4.25 |
0.57 |
มาก |
จากตารางที่ 12 แสดงว่าความพึงพอใจในการใช้งานของผู้ใช้ระบบสหกรณ์ร้านค้ามหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ผ่านเว็บไซต์คือ พนักงานสหกรณ์ ผลในส่วนของการแสดงผล โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( = 4.25, S.D. = 0.57) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าการประเมินทั้งหมดอยู่ในระดับมากโดยเรียงตามลำดับคือ ผลลัพธ์สามารถนำไปใช้ในงานอื่นๆได้ (= 4.38, S.D. = 0.52) ระบบช่วยประหยัดเวลาในการจัดทำรายงาน ( = 4.38, S.D. = 0.52) มีความสะดวกสบายในการใช้งาน ( = 4.25, S.D. = 0.71) และผลลัพธ์ที่ได้มีข้อมูลครบถ้วนถูกต้องและสมบูรณ์ ( = 4.00, S.D. = 0.53)
ตารางที่ 13 แสดงผลการหาความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบในส่วนของการแสดงผล (สมาชิกสหกรณ์)
รายการประเมิน |
S.D. |
ระดับ |
|
1. ผลลัพธ์ที่ได้มีข้อมูลครบถ้วนถูกต้องและสมบูรณ์ |
4.31 |
0.68 |
มาก |
2. ผลลัพธ์สามารถนำไปใช้ในงานอื่นๆได้ |
4.31 |
0.53 |
มาก |
3. ระบบช่วยประหยัดเวลาในการจัดทำรายงาน |
4.39 |
0.65 |
มาก |
4. มีความสะดวกสบายในการใช้งาน |
4.33 |
0.47 |
มาก |
สรุปผลในส่วนของหน่วยประมวลผล |
4.34 |
0.58 |
มาก |
จากตารางที่ 13 แสดงว่าความพึงพอใจในการใช้งานของผู้ใช้ระบบสหกรณ์ร้านค้ามหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ผ่านเว็บไซต์คือ สมาชิกสหกรณ์ ผลในส่วนของการแสดงผล โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( = 4.34, S.D. = 0.58) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าการประเมินทั้งหมดอยู่ในระดับมากโดยเรียงตามลำดับคือ ระบบช่วยประหยัดเวลาในการจัดทำรายงาน ( = 4.39, S.D. = 0.65) มีความสะดวกสบายในการใช้งาน ( = 4.33, S.D. = 0.47) ผลลัพธ์ที่ได้มีข้อมูลครบถ้วนถูกต้องและสมบูรณ์ ( = 4.31, S.D. = 0.68) และผลลัพธ์สามารถนำไปใช้ในงานอื่นๆได้ ( = 4.31, S.D. = 0.53)