ตำราเรื่อง หลักการบัญชีชั้นกลาง ๑

(Intermediate Accounting)

รศ.รวงพร อิ่มผล


ชื่อผลงานทางวิชาการ การบัญชีชั้นกลาง 1 (Intermediate Accounting)

ประเภทผลงานทางวิชาการ ตำรา

ปีที่พิมพ์ ฉบับปรับปรุง 2558

มูลเพิ่มเติม สาขาวิชาการบัญชีคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

ชื่อเจ้าของผลงานทางวิชาการ/ตำแหน่งทางวิชาการ

รองศาสตราจารย์รวงพร อิ่มผล

 

การบัญชีชั้นกลาง 1 (Intermediate Accounting)

   ตำรา เรื่อง การบัญชีชั้นกลาง 1 เล่มนี้ เป็นฉบับปรับปรุง 2558 รองศาสตราจารย์รวงพร อิ่มผล อาจารย์ประจำสาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการเป็นผู้เขียนได้ปรับปรุงตำรา เพื่อใช้ในการเรียนการสอน สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี โปรแกรมวิชาบัญชีและโปรแกรมบริหารธุรกิจแขนงวิชาการบัญชี โดยเนื้อหาประกอบด้วย การแสดงรายการในงบการเงิน สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน กำหนดราคาสินทรัพย์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน การด้อยค่าสินทรัพย์ และหนี้สิน โดยผู้เขียนอาศัยประสบการณ์จากการปฏิบัติงาน และการสอนเป็นระยะเวลาหลายปี โดยตำราเล่มนี้ได้พิมพ์เผยแพร่แล้วในปี 2556 และเพื่อให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน จึงได้มีการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อหาที่เป็นสาระสำคัญ ในส่วนที่เกี่ยวกับสินทรัพย์และหนี้สิน เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่ออกใหม่ที่ประกาศใช้ และเพื่อให้นักศึกษาสามารถนำวามรู้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ซึ่งรายละเอียดของตำราเล่มนี้ประกอบด้วย 10 บทเรียนแต่ละบทเรียนจะประกอบด้วยเนื้อหาดังนี้

บทที่ 1 งบการเงิน ประกอบด้วยกรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงินวัตถุประสงค์ของการรายงานทางการเงินลักษณะเชิงคุณภาพของข้อมูลทางการเงินคำนิยามการรับรู้รายการและการวัดมูลค่าองค์ประกอบของโครงสร้างงบการเงินแนวคิดเรื่องทุนและการรักษาระดับทุนการนำเสนองบการเงินสรุปคำถามและแบบฝึกหัด

บทที่ 2 เงินสดและเงินลุงทุน ประกอบด้วยเงินสดเงินสดย่อยเงินฝากธนาคารงบประมาณเงินสดเงินลงทุนต้นทุนของเงินลงทุนการจัดประเภทเงินลงทุนการบัญชีสำหรับเงินลงทุนราคาตามบัญชีของเงินลงทุนการโอนเปลี่ยนประเภทของเงินลงทุนการจำหน่ายเงินลงทุนการเปิดเผยข้อมูลสรุปคำถามและแบบฝึกหัด

บทที่ 3 ลูกหนี้และตั๋วเงินรับ ประกอบด้วย ลูกหนี้ การนำบัญชีลูกหนี้ไปหาผลประโยชน์ ตั๋วเงินรับ การบัญชีเกี่ยวกับตั้งเงินรับ การนำตั๋วเงินไปแสวงหาผลประโยชน์ ตั้งเงินรับที่มีอายุเกินกว่า 1 ปี สรุป คำถามและแบบฝึกหัด

บทที่ 4 สินค้าคงเหลือและการวัดมูลค่าด้วยราคาทุน ประกอบด้วย ความหมายของสินค้าคงเหลือ รายการที่ควรถือเป็นสินค้าคงเหลือ การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินค้า การวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือ วิธีถัวเฉลี่ย(อย่างง่าย ถ่วงน้าหนัก เคลื่อนที่) วิธีเข้าก่อนออกก่อน วิธีเข้าหลังออกก่อน วิธีรวมกลุ่มสินค้าเข้าหลังออกก่อนวิธีสินค้ามูลฐานวิธีราคาทุนอื่นๆเปรียบเทียบผลการคานวณราคาสินค้าคงเหลือสรุปคำถามและแบบฝึกหัด

บทที่ 5 สินค้าคงเหลือและการวัดมูลค่าด้วยวิธีอื่น ประกอบด้วยการวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือด้วยราคาทุนและมูลค่าสุทธิที่จะได้รับผลของการใช้ราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับที่ต่ากว่าการบันทึกราคาที่ต่ากว่าลงในบัญชีวิธีอัตรากาหรขั้นต้นวิธีราคาขายปลีกการคานวณสินค้าคงเหลือตามวิธีขายปลีกในกรณีต่างๆการเปิดเผยข้อมูลสรุปคำถามและแบบฝึกหัด

บทที่ 6 เงินลงทุนระยะยาว ประกอบด้วยเงินลงทุนระยะยาวในหุ้นทุนการซื้อหุ้นเป็นหน่วยรวมการบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุนระยะยาวเงินปันผลการแบ่งแยกหุ้นและสิทธิซื้อหุ้นที่ออกใหม่การไถ่ถอนหุ้นและการแปลงสภาพหุ้นตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดการบันทึกบัญชีตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดการไถ่ถอนหุ้นกู้การแปลงสภาพหุ้นกู้การด้อยค่าของเงินลงทุนสรุปคำถามและแบบฝึกหัด

บทที่ 7 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ประกอบด้วย ความหมายของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ การวัดมูลค่าเริ่มแรกของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ต้นทุนการกู้ยืมที่อนุญาตให้รวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ ราคาทุน( ของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์) ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภายหลังการบันทึกบัญชีเมื่อได้รับสินทรัพย์การซื้อสินทรัพย์การนาสินทรัพย์ที่มีอยู่ไปแลกการสร้างสินทรัพย์ขึ้นใช้เองสินทรัพย์ที่ได้มาจากการบริจาคและการค้นพบการวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้มูลค่าเริ่มแรกสรุปคำถามและแบบฝึกหัด

บทที่ 8 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ประกอบด้วยคำนิยามการรับรู้รายการและการวัดมูลค่าการวัดมูลค่าสินทรัพย์ไม่มีตัวตนเมื่อเริ่มแรกการวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้รายการอายุการให้ประโยชน์การเปิดเผยข้อมูลสรุปคำถามและแบบฝึกหัด

บทที่ 9 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ประกอบด้วยความหมายของคาศัพท์การระบุสินทรัพย์ที่อาจเกิดจากการด้อยค่าการวัดมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับรับคืนหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดและค่าความนิยมการขาดทุนจากการด้อยค่าของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดการพิจารณาลักษณะของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดการคานวณมูลค่าจากการใช้และการรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าการกลับบัญชีรายการขาดทุนจากการด้อยค่าการปฏิบัติสำหรับการปรับโครงสร้างในอนาคตการปฏิบัติเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุนที่จะเกิดขึ้นแนวทางทาการทดสอบแบบวิธีปันส่วนให้หน่วยเล็กที่สุดและแบบวิธีปันส่วนให้หน่วยที่ใหญ่ขึ้นมาปฏิบัติกับค่าความนิยมสรุปคำถามและแบบฝึกหัด

บทที่ 10 หนี้สิน ประกอบด้วย ความหมายของหนี้สิน การแบ่งประเภทหนี้สิน การกำหนดมูลค่าของหนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินโดยประมาณและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น การแสดงรายการหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินโดยประมาณ หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น หนี้สินระยะยาว การบัญชีเกี่ยวกับหุ้นกู้ การตัดส่วนเกินหรือส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้โดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง การแสดงรายการหนี้สินระยะยาวและการเปิดเผยในงบการเงิน สรุป คำถามและแบบฝึกหัด 


ประวัติผู้แต่ง : รองศาสตราจารย์รวงพร อิ่มผล

การศึกษา : บช.. บัญชีบัณฑิต (บัญชีการเงิน) คณะบัญชีมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

: ศศ.. เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประสบการณ์การทำงาน

: รองศาสตราจารย์ ระดับ 9 สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (2555-2559)

: คณบดีคณะวิทยาการจัดการ (2550-2554)

หมายเหตุ : สนใจ ติดต่อ โทร. 081-3084300 ราคาเล่มละ 180. บาท